Study Notes 5
September 18,2014
Group 101 (Thursday)
Time (08.30-12.20)
Knowede
การทำสื่อทางวิทยาศาสตร์อาจารย์จะมีอุปกรณ์ให้กับันกศึกษาจากนั้นแบ่งกระดาษ 1 แผ่นแบ่งได้ 4 คน
Equipment
-กระดาษปกแข็ง paper
-ไม้เสียบลูกชิ้น Meatball skewers
-ไม้เสียบลูกชิ้น Meatball skewers
-สี color
-กาว glue
Invention
- แบ่งกระดาษตามที่ต้องการ แล้วพับครึ่งของการดาษ
- วาดรูปที่สัมพันธ์กันในแต่ละด้าน เช่น carrot nad rabbit
- จากนั้นเอาเทปกาวติดไม้เสียบเพื่อไม่ให้มันหลุดออกจากกระดาษ แล้วเอาเทปกาวปิดทางด้างข้างทั้ง 2 ข้าง จากนั้นหมุดให้เร็วขึ้นเรื่อยๆ แล้วดูที่กระดาษ เราจะเห็นภาพกระต่ายกินแครอท
ต่อมาเป็นบทความที่เพื่อนนำเสนอแต่ละสัปดาห์
นางสาว แสงระวี ทรงไตรย์
บทความเรื่อง เด็กๆอนุบาลสนุกกับ"สะเต็มศึกษา"ผ่านโครงงานปฐมวัย More CICK
นางสาวศุภาวรรณ ประกอบกิจ
บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร? More CICK
นางสาวศิราลักษณ์ คาวินวิทย์
บทความเรื่อง บ้านฉันเป็นค่ายวิทยาศาสตร์ More CICK
Science songs
สรุปจาก VDO ความลับเรื่องแสง
แสงสำคัญกับเรามาก แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนคลื่นน้ำทะเล แต่เป็นคลื่นที่มีความยาวสั้นมาก แสงเคลื่อนที่ได้เร็วมาก 300,000 กิโลเมตร/วินาที ถ้าเราวิ่งได้เร็วเหมือนแสง เราก็จะวิ่งรอบโลก ได้ 7 รอบ/วินาที แสงช่วยในการมองเห็นได้อย่างไร?
ตัวอย่างการทอลอง
Experiment samples
แสงจะเดินทางเป็นเส้นตรงอย่างเดียว และไม่มีการเปลี่ยนทิศทาง วัตถุที่อยู่บนโลกเมื่อมีแสงมากระทบจะมีอยู่ 3 ลักษณะ ต่างกัน 2 แบบแรก แสงจะทะทุผ่านไปได้ คือ วัตถุโปร่งแสง translucent objects และ วัตถุโปร่งใส transparent objects อีก 1 แบบจะดูดกลืนแสงและจะสะท้อนแสงที่เหลือดูดสู่ดวงตาเรา คือ วัตถุทึบแสง Opaque object
*วัตถุ 3 ลักษณะนี้ จะต่างกันตรงที่แสงจะผ่านไปได้มากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่ที่วัตถุ
ประโยชน์ของแสง
การเคลื่อนที่ ที่เป็นเส้นตรงเราก็จะนำมาใช้เป็นกล้องถ่ายรูปต่างๆ
วิธีการสอน Teaching methods
การสอบแบบการใช้คำถามปลายเปิด การถามตอบ เพื่อ check ความรู้ของนักศึกษาและเพื่อเป็นการกระตุ้นให้นักศึกษาได้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ ในการหาคำตอบ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักศึกษา และทำให้บรรยากาศในการเรียนสนุกสนานไม่น่าเบื่อมากยิ่งขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับ Benefits
นำความรู้เรื่องแสงนำมาจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยที่สอดคล้องกับความต้องการ และพัฒนาการของเด็ก ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เกิดวิธีการเรียนรู้ ตามคุณลักษณะอันพึงประสงตามธรรมชาติของเด็ก
การประเมิน Assessment
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา วางรองเท้าหน้าห้องอย่างเป็นระเบียบ แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียนและมีการจดบันทึกทุกครั้งที่มีเนื้อหาสำคัญ
เพื่อน= เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม และทำกิจกรรมร่วมกันได้ดี
อาจารย์ = เข้าสอนตรงต่อเวลา อธิบายเนื้อหาและร่วมหาคำตอบไปพร้อมกับนักศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น