Study Notes 13
November 13,2014
Group
101 (Thursday)
Time
(08.30-12.20)
สิ่งที่ได้จากการเรียน (Knowlede)
การเรียนการสอนในวันนี้ เพื่อนได้นำเสนอบทวิจัยที่เหลือ ดังนี้
1.น.ส กมลพรรณ แสนจันทร์ ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ของศรีนวล ศรีอ่ำ
สรุปวิจัย หลังจากทำกิจกรรมการเล่นเกมการศึกษาแล้วเด็กได้เกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทักษะในการสังเกตที่ดีขึ้น
2.นางสาว กมลกาญจน์ มินสาคร
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลอง
หลังการฟังนิทาน ของ ศศิพรรณ สำแดงเดช
สรุปวิจัย เป็นกิจกรรมการทดลองหลังจากการฟังนิทาน โดยครูจะเป็นผู้เล่านิทานให้ฟังแล้วมาร่วมทดลองกัน ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องคือ ทักษะทางการสังเกต การจำแนก การสื่อสาร
3.นางสาวนฤมล บุญคงชู
การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวน
การทางวิทยาศาตร์ของเด็กปฐมวัย ของ ชยุดา พยุงวงษ์
สรุปวิจัย กิจกรรมมีระยะเลวาในการทดลอง 8 สัปดาห์ จากนั้นนำเด็กมาทำการทดลอง มีการทดลอดซ้ำๆจนเด็กสามารถทำได้จนเกิดความเคยชิน ปัญญาที่พบ มีปัญหาทางเกมการศึกษา
4.น.ส.ปานัดดา อ่อนนวล
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย / ยุพาภรณ์ ชูสาย
สรุปวิจัย เมื่อเด็กได้ลงมือกระทำ เด็กสามารถเกิดทักษะทางวิยาศาสตร์ จาการสังเกต การจำแนก มิติสัมพันธ์ และทักษะการลงความคิดเห็นมากขึ้น
5.ธนารัตน์ วุฒิชาติ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้าง
สรรค์แบบเน้นกระบวนการ/ชนกพร ธีระกุล
สรุปวิจัย มีกิจกรรมสร้างเสริมแบบเป็นกระบวนการ 40 แผน กิจกรรมสร้างสรรค์แบบเป็นกระบวนการตามปกติ ทดลอง 8 สัปดาห์ เกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การเปรียบเทียบ การทดลอง การจำแนก มิติสัมพันธ์ ประสบการณ์ตรง
6.นางสาวชนัฐถ์นันท์ แสวงชัย การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ของ เสกสรร มาตวังแสง
สรุปวิจัย จากการทำกิจกรรมพบว่าเด็กมีวิจารณญาณมากกว่าก่อนการกัดกิจกรรม
7.นางสาว ไลลา คนรู้
การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดย
ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ สายทิพย์ ศรีแก้วทุม.
สรุปวิจัย เป็นการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ แก่เด็กปฐมวัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อเด็กได้ทำกิจกรรมแล้วเด็กมีทักษะการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
eaching methods วิธีการสอน
- ให้เด็กสมารถแก้ปัญหา
- การใช้คำถามปลายเปิด
- สรุปรวบยอด
- สอนให้เด็กเกิดทักษะในการคิดวิเคาระห์
- ให้เด็กได้กล้าแสดง
- การนำเสนอ
Benefits ประโยชน์ที่ได้รับ
การอ่านวิจัยเยอะๆ จะทำให้เรามีประสบการณ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ และสามารถคิดสิ่งประดิษฐิ์หรือการทดลองใหม่ๆที่เหมาะสมกับเด็กได้ และสามารถตอบคำถามที่เด็กสงสัยได้โดยไม่ติดขัด และนอกจากนั้นเรายังสามารถนำวัสดุที่เหลือใช้นำมาประดิษฐิ์ให้เกิดประโยชน์ได้อีกด้วย
assessment การประเมิน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา
วางรองเท้าหน้าห้องอย่างเป็นระเบียบ แต่งกายเรียบร้อย และมีการตอบคำถามเพื่อน= เข้าเรียนตรงต่อเวลาแต่งกายถูกระเบียบตั้งใจเรียนและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
อาจารย์ = เข้าสอนตรงต่อเวลา
อธิบายเนื้อหาและร่วมหาคำตอบไปพร้อมกับนักศึกษา และให้คำแนะนำหรือข้อเสนอแนะเป็นอย่างดี
การเรียนการสอนในวันนี้ เพื่อนได้นำเสนอบทวิจัยที่เหลือ ดังนี้
สรุปวิจัย หลังจากทำกิจกรรมการเล่นเกมการศึกษาแล้วเด็กได้เกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ทักษะในการสังเกตที่ดีขึ้น
2.นางสาว กมลกาญจน์ มินสาคร ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลอง หลังการฟังนิทาน ของ ศศิพรรณ สำแดงเดช
สรุปวิจัย เป็นกิจกรรมการทดลองหลังจากการฟังนิทาน โดยครูจะเป็นผู้เล่านิทานให้ฟังแล้วมาร่วมทดลองกัน ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องคือ ทักษะทางการสังเกต การจำแนก การสื่อสาร
3.นางสาวนฤมล บุญคงชู การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะต่อกระบวน การทางวิทยาศาตร์ของเด็กปฐมวัย ของ ชยุดา พยุงวงษ์
สรุปวิจัย กิจกรรมมีระยะเลวาในการทดลอง 8 สัปดาห์ จากนั้นนำเด็กมาทำการทดลอง มีการทดลอดซ้ำๆจนเด็กสามารถทำได้จนเกิดความเคยชิน ปัญญาที่พบ มีปัญหาทางเกมการศึกษา
4.น.ส.ปานัดดา อ่อนนวล
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย / ยุพาภรณ์ ชูสาย
สรุปวิจัย เมื่อเด็กได้ลงมือกระทำ เด็กสามารถเกิดทักษะทางวิยาศาสตร์ จาการสังเกต การจำแนก มิติสัมพันธ์ และทักษะการลงความคิดเห็นมากขึ้น
5.ธนารัตน์ วุฒิชาติ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้าง สรรค์แบบเน้นกระบวนการ/ชนกพร ธีระกุล
สรุปวิจัย มีกิจกรรมสร้างเสริมแบบเป็นกระบวนการ 40 แผน กิจกรรมสร้างสรรค์แบบเป็นกระบวนการตามปกติ ทดลอง 8 สัปดาห์ เกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การเปรียบเทียบ การทดลอง การจำแนก มิติสัมพันธ์ ประสบการณ์ตรง
6.นางสาวชนัฐถ์นันท์ แสวงชัย การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ของ เสกสรร มาตวังแสง
สรุปวิจัย จากการทำกิจกรรมพบว่าเด็กมีวิจารณญาณมากกว่าก่อนการกัดกิจกรรม
7.นางสาว ไลลา คนรู้ การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดย ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ สายทิพย์ ศรีแก้วทุม.
สรุปวิจัย เป็นการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ แก่เด็กปฐมวัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อเด็กได้ทำกิจกรรมแล้วเด็กมีทักษะการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
การอ่านวิจัยเยอะๆ จะทำให้เรามีประสบการณ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ และสามารถคิดสิ่งประดิษฐิ์หรือการทดลองใหม่ๆที่เหมาะสมกับเด็กได้ และสามารถตอบคำถามที่เด็กสงสัยได้โดยไม่ติดขัด และนอกจากนั้นเรายังสามารถนำวัสดุที่เหลือใช้นำมาประดิษฐิ์ให้เกิดประโยชน์ได้อีกด้วย
4.น.ส.ปานัดดา อ่อนนวล
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย / ยุพาภรณ์ ชูสาย
สรุปวิจัย เมื่อเด็กได้ลงมือกระทำ เด็กสามารถเกิดทักษะทางวิยาศาสตร์ จาการสังเกต การจำแนก มิติสัมพันธ์ และทักษะการลงความคิดเห็นมากขึ้น
5.ธนารัตน์ วุฒิชาติ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้าง สรรค์แบบเน้นกระบวนการ/ชนกพร ธีระกุล
สรุปวิจัย มีกิจกรรมสร้างเสริมแบบเป็นกระบวนการ 40 แผน กิจกรรมสร้างสรรค์แบบเป็นกระบวนการตามปกติ ทดลอง 8 สัปดาห์ เกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์ การสังเกต การเปรียบเทียบ การทดลอง การจำแนก มิติสัมพันธ์ ประสบการณ์ตรง
6.นางสาวชนัฐถ์นันท์ แสวงชัย การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ของ เสกสรร มาตวังแสง
สรุปวิจัย จากการทำกิจกรรมพบว่าเด็กมีวิจารณญาณมากกว่าก่อนการกัดกิจกรรม
7.นางสาว ไลลา คนรู้ การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดย ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของ สายทิพย์ ศรีแก้วทุม.
สรุปวิจัย เป็นการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ แก่เด็กปฐมวัย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อเด็กได้ทำกิจกรรมแล้วเด็กมีทักษะการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
eaching methods วิธีการสอน
- ให้เด็กสมารถแก้ปัญหา
- การใช้คำถามปลายเปิด
- สรุปรวบยอด
- สอนให้เด็กเกิดทักษะในการคิดวิเคาระห์
- ให้เด็กได้กล้าแสดง
- การนำเสนอ
Benefits ประโยชน์ที่ได้รับ
assessment การประเมิน
ตนเอง = เข้าเรียนตรงเวลา
วางรองเท้าหน้าห้องอย่างเป็นระเบียบ แต่งกายเรียบร้อย และมีการตอบคำถามเพื่อน= เข้าเรียนตรงต่อเวลาแต่งกายถูกระเบียบตั้งใจเรียนและแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
อาจารย์ = เข้าสอนตรงต่อเวลา
อธิบายเนื้อหาและร่วมหาคำตอบไปพร้อมกับนักศึกษา และให้คำแนะนำหรือข้อเสนอแนะเป็นอย่างดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น